รายงานการประชุมพัฒนากิจกรรมประเด็นวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ
เวทีวัดคลองแห วันที่ 26 พฤศจิกายน 2549
ประเด็นวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ
ผู้เข้าร่วมประชุม
1. น.ส.นวลศรี ถนอมศรมงคล 17. นายเมี่ยน ไชยณรงค์
2. นายประเสริฐ รักษ์วงศ์ 18. นายจรูญ พัสระ
3. น.ส. อารมณ์ สุขชาญ 19. นายสุพิศ ทองมณี
4.นายนครินทร์ ชาทอง 20. นางไทรประพร แก้วชะนะ
5.นายจักรพัฒน์ ไชยพัฒน์ 21. สท.อุดม เพ็ชรหนู
6.นายสำราญ สุวรรณโรจน์ 22.นายจอม เจริญศาสตร์
7.นายณัฐวุฒิ คชรัตน์ 23. พ.ต.ท. กิจภูมิ พรหมคง
8.นายนิธิกานต์ สะอาดใส 24. นายชัย เหล่าสิงห์
9.นายไพฑูรย์ ทองมณี 25. นายดวน อารมณ์ฤทธิ์
10.นางอมรรัตน์ สำเภาลาม์ 26. นายภิรมย์ ศรีเมือง
11. นางกัลยา มณีรัตน์ 27. นายแปลก ทองสังข์
12. นางนิรมล ราชผล 28. นายอำนวย สงนวล
13. นางสรพงษ์ ทิพรัตน์ 29.นายชาคริต โภชะเรือง
14. นายสมโภช นันทองดี 30. น.ส.วรรณา สุวรรณชาตรี
15. นายสุวรรณ สุขสมบูรณ์ 31. นายเชภาดร จันทร์หอม
16. นายสนั่น อินทสระ
ยุทธศาสตร์
1.สร้างลานวัฒนธรรมในชุมชน
- โครงการลานวัฒนธรรม 16 อำเภอ
2.สร้างองค์กรเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรด้านวัฒนธรรม
- โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรทางด้านวัฒนธรรม
3.เชื่อมโยงนโยบายในระดับพื้นที่ อบต. อบจ. วัด โรงเรียน เผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม
- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้
4.นำวัฒนธรรมประยุกต์ใช้สนับสนุน กิจกรรมภาคี
- โครงการวัฒนธรรมสนับสนุนภาคีสุขภาพ
โซนบก (อ.สทิงพระ,อ.ระโนด,อ.กระแสสินธุ์,อ.สิงหนคร)
- คนอายุยืนอยู่บนฐานวัฒนธรรมดั้งเดิม
- วัฒนธรรม
- พฤติกรรม
- ความเชื่อ/ขนบธรรมเนียม/ประเพณี
- วิถีชีวิต
- การแสดง
- การละเล่นพื้นฐาน/กีฬาพื้นบ้าน
- โนรา
- การแสดงทั่วไป ประเภทสวยงาม
- โนราตัวอ่อน เด็กประถม, ตีเครื่อง, เป็นท่าโยคะ
- เพลงโทน เพลงทับ
- สืบสานวิถี "โหนด-นา-เล"
- น้ำส้มที่รำแดง
- ทำขวัญข้าว/ลอยแพ
- สภาเด็กลุ่มน้ำทะเลสาบ (โซนบก)
- รำวงย้อนยุค (รำโทน)
- เพลงยายี (ลิเกป่า) - แสดงประกอบท่า
- เพลงกล่อมเด็ก
- ข้าวยำ
- สมุนไพร/ภูมิปัญญาชาวบ้าน
เกณฑ์ในการคัดเลือก
มีกิจกรรมเด่นชัด
มีคณะทำงานชัดเจน
เชื่อมโยงับหน่วยงาน/องค์กร/เครือข่าย
สามารถขยายผลสร้างความยั่งยืน
แนวทางการดำเนินงาน ( ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เท่าไหร่)
1. สืบสานวิถีวัฒนธรรมของชาวบก "โหนด นา เล"
2. ค้นหากิจกรรมเด่นๆของโซน
การแสดง/การละเล่น
-โนราตัวอ่อน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ(ความรู้)
-สมุนไพร
- การกิน/การอยู่/การเดิน(พฤติกรรม)
โนราตัวอ่อน
- ค่ายรักษ์โนรา
- ผลิต vcd ขยายผลกับ อสม.และกลุ่มอื่นๆ
- ค่าย อสม โนราตัวอ่อน(บำบัด)
- หลักสูตรท้องถิ่น
- มหกรรมโนราตัวอ่อน
สำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่น
รวบรวมอาหาร/สมุนไพร ฯลฯ เพื่อสุขภาพ
1. รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตร /อาหาร+สมุนไพร
2. รวบรวมพืชผักพื้นบ้านโซนบก
3. ประสานโรงเรียนและนักเรียนรวบรวม
โนราตัวอ่อน
กิจกรรม
1.ค้นหาความรู้จากท่าโนราตัวอ่อนที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ
- ต่อยอดกับงาน สสจ./พยาบาล (อสม./อนามัย)
- ผลิต vcd หรือแกนนำออกกำลังกาย
- รำเต็มตัว (โนราปกติ)
- โนราตัวอ่อน (บำบัด)
2.สนับสนุนภาคีสุขภาพในแผนสุขภาพ นำเนื้อหามารณรงค์/เผยแพร่
3.แข่งขันโนราโซนบก ( เครือข่ายโนราตัวอ่อน )
4.ตรวจทานความรู้ของโนราตัวอ่อน ( ค่ายรักษ์โนรา )
- ครูต้นแบบ
- ประวัติโนราตัวอ่อนสำคัญ
5.ขยายผลกับโรงเรียน
โนรา
ต้นทุน
- งานวิจัยของ อ.นิตย์
- จากคณะโนราปัจจุบัน
- ต้นแบบโนราตัวอ่อน
ที่มา โชว์ความอ่อนช้อยของร่างกาย(ท่าพดในดาด)/การแข่งขัน/การประกวด
โชว์ท่ารำ ประมาณ 10 ท่า นั่ง ยืน
โซนตก ( คลองหอยโข่ง บางกล่ำ รัตภูมิ ควนเนียง )
หลัก ยั่งยืน ขยายผล ท้องถิ่นสนับสนุน
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
- สืบค้นประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วิถีชีวิตชุมชน วัฒนธรรมพื้นบ้าน
- สิ่งของใช้โบราณ
- สื่อแต่ละท้องถิ่น vcd ใบความรู้ หลักสูตรท้องถิ่น
- จัดกิจกรรม
ทำขวัญแม่ย่าฟื้นชีวาคลองบางกล่ำ ( เชื่อมโยงชุมชน ควนเนียง บางกล่ำ)
- อบรมเรียนรู้เรื่องความเชื่อแม่ย่านาง
- กิจกรรมพิธีทำขวัญเรือ
- กิจกรรมการฝึกซ้อมฝีพาย
- กิจกรรมรักษ์คลองบางกล่ำ
ศูนย์การเรียนรู้สวนสมุนไพร
- รณรงค์การปลูกในหมู่บ้าน
- การจัดการเรียนรู้ อนุรักษ์ ด้านยาสมุนไพร
โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรทางวัฒนธรรม
- กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องพืช อาหาร ในพื้นที่
มีคุณสมโภชน์ นันทวงศ์ ยกร่างโครงการทำขวัญแม่ย่าฟื้นชีวาคลองบางกล่ำ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อใช้วัฒนธรรมความเชื่อเกี่ยวกับแม่ย่านางมาเป็นเครื่องมือในการสร้างเสริมสุขภาพ
2. เพื่อสืบทอด ฟื้นฟู การทำขวัญแม่ย่านาง ปฏิบัติการขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม
3. เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงขยายไปสู่หลักสูตรท้องถิ่น
4. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน ได้แก่
- โรงเรียน 12 โรง จาก 2 อำเภอ
อำเภอบางกล่ำ โรงเรียนบ้านหาร โรงเรียนวัดท่าช้าง โรงเรียนบ้านบางกล่ำ
โรงเรียนวัดบางหยี โรงเรียนวัดท่าเมรุ โรงเรียนบ้านยวนยาง
โรงเรียนหนองม่วง โรงเรียนวัดนารังนก โรงเรียนเกาะน้ำรอบ
โรงเรียนบางกล่ำวิทยารัชมังคลาภิเษก โรงเรียนบ้านแม่ทอม โรงเรียนเกาะน้ำรอบ (ควนเนียง)
- ชุมชน
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบต.บางกล่ำ อบต.ท่าช้าง อบต.บ้านหาร
อบต.แม่ทอม อบตบางเหรียง
- ผู้สนใจไป
กิจกรรมที่ดำเนินการ
1. กิจกรรมอบรมเรียนรู้เรื่องความเชื่อพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทำขวัญเรือและแม่ย่านาง
2. กิจกรรมทำขวัญเรือ
3. กิจกรรมการฝึกซ้อมฝีพาย
4. กิจกรรมรักษ์คลองบางกล่ำ
5. กิจกรรมหนุนเสริมกระบวนการทำงาน
พื้นที่ดำเนินการ
ท่าน้ำวัดชลธาราวาส(วัดบางกล่ำ ) ต.บางกล่ำ อ.บางกล่ำ จ.สงขลา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับความรู้ ความเชื่อเกี่ยวกับแม่ย่านาง
2.ชุมชนสืบทอด ฟื้นฟู วัฒนธรรมตามวิถีชีวิตของชุมชนมีการปฏิบัติการขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม
3. ได้ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อแม่ย่านางที่เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
4. ชุมชนมีจิตสำนึก ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
5. เยาวชน ประชาชน และท้องถิ่นมีจิตสำนึกรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
ปิดการประชุม
Relate topics
- จังหวัดสงขลาได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาครูภูมิปัญญาไทย 4 ภาค ครั้งที่ 4
- สธ.หนุน 'จิตอาสาหมอพื้นบ้าน-สมุนไพร' ร่วมดูแลสุขภาพชาวบ้าน
- โพลพบคนไทยกตัญญูสูงแต่จิตอาสา-มีน้ำใจต่ำ
- ไทยเฮ ! รักษา"ฤาษีดัดตน" ไว้ได้ หลังศาลสั่งให้เป็นภูมิปัญญาไทย
- ขอเชิญร่วมงาน สัปดาห์ศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
- ผลวิจัยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย 30ชนิด ชะลอความแก่ได้
- ประกวดภาพถ่ายโบราณและประกวดก่อเจดีย์ทราย เนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชา
- รายงานพัฒนากิจกรรมประเด็นวัฒนธรรมในแผนสุขภาพจังหวัดสงขลา
- รายงานพัฒนาโครงการประเด็นวัฒนธรรม
- กระบวนการผลิตซ้ำ และสร้างใหม่ของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม