ประชุมคณะทำงานกลไกกลางสงขลา
สสจ.
- การทำงานบูรณาการของแต่ละองค์กร ควรมีเจ้าภาพหลักระดับหมู่บ้าน/ชุมชน และเชื่อมโยงกับงานวิสัยทัศน์ 2020
- ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง สร้างกรอบความคิด (ระเบิดมาจากข้างใน)
ทต.ปริก
- ศูนย์ประสานานภาคใต้ตอนล่างของ สสส.
- เริ่มจากการตรวจสอบทุนในพื้นที่ จัดระบบเป็นแหล่งเรียนรู้เป็น 6 ระบบ เป็นแม่ข่าย อปท. 5 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง พฒนาระบบฐานข้อมูล 7 เรื่อง
- ปี 56
- เน้นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
- หลักสูตรท้องถิ่น (อาชีพ,วัฒนาธรรม เมืองคาร์บอนต่ำ, การบริโภคยั่งยืนและปลอดภัย กองทุนชุมชนพึ่งตนเอง สัจจะวันละ 1 บาท)
- หนุนเสริมลูกข่ายที่เป็นแม่ข่ายหลัก (ต.ท่าข้าม, ควนรู ขับเคลื่อนเชิงประเด็นและค้นหาแม่ข่ายในจังหวัดอื่น เพื่อยกเป็นแหล่งเรียนรู้)
อบต.ท่าข้าม
- พศส. 70 เกลอ
- มีประเด็น 7 นโยบายในการทำงาน (สุขภาพ สวัสดิการชุมชน เกษตรยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานทดแทน ภัยพิบัติ เด็กและเยาวชน การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม/ธรรมนูญท้องถิ่น)
- เป็นแกนประสานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลาในปี 2555-57
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
- เติบโตจากงานกองทุนชุมชนเมืองมาตั้งกองทุน แก้ปัญหาชุมชนแออัด ก่อนขยายมาสู่ชนบท ต่อมาร่วมกับ SIF กองทุนเพื่อสังคม จนกระทั่งจัดตั้งเป็นสถาบัน เป็นองค์กรของประชาชนสังกัดรัฐ คือกระทรวง พม.
- ภารกิจ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ด้วยพลังของชุมชนและนักพัฒนาเอกช หนุนชาวบ้าน หนุนประชาสังคม พัฒนาองค์กรชุมชนนพื้นท่ นอกจากน้นก็รับภารกิจจากรัฐบาล เช่นแก้ปัญหาที่ดินในเขตเมือง สมทบสวัสดิการชุชน 5 จังหวัดชายแดนใต้ แก้ปัญหาเร่งด่วยภัยพิบัติ
สภาองค์กรชุมชน
- พื้นที่ดำเนินการ สภาองค์กรชุมชน 92+9 แห่ง (ปี 2556)
- สมาชิกมาจากทุกกลุ่มในตำบล กำนันรับจดแจ้ง โดยต้องมีสมาชิกไม่ต่ำกว่า 15 กลุ่ม นักการเมืองไม่สามารถเป็นสมาชิก เป็นเวทีของภาคประชาชนในตำบล เสนอแนะการพัฒนาในตำบลบูรณาการระดับตำบล มีงบกองทุนเคลื่องานปี 53 จำนวน 8 ล้านบาท เสนอแนะการพัฒนาระดับจังหวัดส เสนอแนะการพัฒนาต่อรัฐบาล
- ช่องว่า : การทำแผนระดับตำบล แกนนำชุมชนเป็นภาคประชาชนเป็นหลัก การทำงานแบ่งเป็น 4 โซน ประสาน ต.ชะแล้เป็นแกนในการทำงานฐานข้อมูล นำไปสู่การทำธรรมนูญชุมชน
- ประเด็นเน้น ด้านที่อยู่อาศัย หมู่บ้านละ 1 ล้าน ปี 56 1 ตำบล 1 แผนยุทธศาสตร์ ผังชุมชน
- มีประเด็นนโยบายระดับจังหวัด 9 ด้าน การจัดการสวัสดิการชุมชน (อบต.สมทบ 1 เดือน) พื้นที่ฐานอาหารที่คาบสมุทร ที่ดินทำกิน รถโดยสารสาธารณะ ยาเสพติด สถาบันครอบครัว ให้มีตัวแทนสถาบันองค์กรชุมชน 1 คนต่อ 1 อำเภอทำงานร่วมกับรัฐ
พมจ. - พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
- ช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาส สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็กและเยาวชน ครอบครัว การทำงานจะแสวงหาพื้นที่ที่มีทุนการทำงาน พมจ.จะไปหนุนเสริม
- มี 2 ฝ่าย 3 กลุ่มงาน มี สสว.12 สนับสนุนเชิงวิชากร สถานสงเคราะห์เด็กสงขลา บ้านพักเด็กและครอบครัว ศูนย์สงเคราะห์และพัฒนาอาชีพสตรี ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ 56 บ้านมิตรไมตรี(บุคคลเร่ร่อน) การเคหะชุมชน พอช.
- มีการจัดสมัชชาเด็ก/สตรี/ครอบครัว/ผู้พิการ เสนอแนะเชิงนโยบาย
- มีกลไกลระดับพื้นที่ ศูนย์พัฒนาครอบครัวระดับตำบล ศูนย์ละ 1 หมื่นบาท, สภาเด็กและเยาวชน, ชมรมคนพิการระดับตำบล
- ประเด็นหลัก สวัสดิการสังคม เน้นพื้นที่ตำบลต้นแบบ ปี ณฯ จะทำงานที่ ต.ชะแล ต.ท่าหิน ต.พิจิตร ต.เกาะแต้ว ทำกิจกรรมแล้วถอดบทเรียน
- งบประมาณได้จากเงิน
- ชุมชนที่จะรับการสนับสนุนต้องขึ้นทะเบียนเป็นองค์กรสวัสดิการชุมชนกระจายกองทุนสู่ภูมิภาคกับ พมจ.
15 ภาคีบริหารจัดการ
- จัดทำวิสัยทัศน์สงขลา 2022 โดยการประสานงานของมูลนิธิเรารักสงขลาเฉลิมพระเกียรติ (5 มหาวิทยาลัย มูลนิธิในเครือข่ายพลเอกเปรม จังหวัด อบจ. หอการค้า สภาอุตสาหกรรม สมาพันธ์สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว มูลนิธิชุมชนสงขลา)
- ในอดีต สมัยผู้ว่าบัญญัติ เคยมีการทำวิสัยทัศน์จังหวัด 2555 ต่อมาพบปัญหามีการทำวิสัยทัศน์ใหม่ทุกปี
- 5 มหาวิทยาลัยเป็นแกนนำดำเนินการ
- จะมีการรับฟังความเห็นครั้งที่ 2 วันที่ 19 ธันวาคม 2555 และมีเวทีระดับโซนในช่วงเดือน กพ. มีคณะทำงานกลางยกร่าง มีการประชาพิจารณ์ ทบทวน ปรับปรุง เดือนกันยายน 56 จะประกาศใช้
- ที่สวนประวัติศาสตร์มีหอประวัติ พลเอกเปรม และศูนย์บ่มเพาะคนดี (อบรมไปแล้ว 9 รุ่น) และกำลังจะทำศูนย์วัฒนธรรมด้านดนตรี/ศูนย์วัฒนธรรมตำนานหลวงปู่ทวด/สนับสนุนทุนการศึกษาให้นักศึกษา 23 สถาบัน
Relate topics
HSRD_PSU1