สงขลาพอเพียง : เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพจังหวัดสงขลา - Songkhla Health

หนุนเสริมภาคี ประสานความร่วมมือ

1468 items|« First « Prev 143 144 (145/147) 146 147 Next » Last »|
Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 11:33

 

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 10:21

การสร้างเสริมสุขภาพเป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่สุดในการปฏิรูประบบสุขภาพ เพราะการสร้างเสริมสุขภาพประกอบด้วยการที่สังคมมีจิตสำนึกหรือจินตนาการใหม่ในเรื่องสุขภาพดี และเกิดพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน สถานที่ทำงาน ระบบบริการสังคม สื่อมวลชน ตลอดจนนโยบาย คนและสังคมต้องมีคุณค่าและจิตสำนึกแห่งความดี คน องค์กร หรือสังคมที่ขาดคุณค่าและจิตสำนึกจะขาดพลังแห่งความถูกต้องและยั่งยืน การยึดเทคนิคเป็นตัวตั้งอย่างเดียว ไม่ช้าก็แปรผันขาดความถูกต้อง และนำไปสู่ความเสื่อม อย่างที่เห็นในระบบทั้งหลายโรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์ เป็นสถาบันที่อยู่ในชุมชนอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม บุคลากรในโรงเรียนร้อยละ ๖๐ อยู่ในสังคมที่ยังคงขาดจิตสำนึกในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ ดังเช่นสังเกตจากพฤติ

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 11:33

ขั้นวางแผน มีรายละเอียดดังนี้๑. ประชุมวางแผนร่วมกันของทีมงาน(ครู-นักเรียน-ผู้บริหาร-ชุมชน) เพื่อนำเสนอโครงการสานสายใยเพื่อสุขภาพ๒. เขียนและพัฒนาโครงการให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ๑-๒ ครั้ง๓. เตรียมประสานงานผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้๔. เตรียมประสานงานวิทยากรในการเชิงอบรมปฏิบัติการ๕. เตรียมประสานงานเรื่องสถานที่ในการจัดเวที และ การอบรมเชิงปฏิบัติการ๖. เตรียมประสานยานพาหนะให้ทีมงานไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายนอกชุมชน๗. เตรียมจัดหาวัสดุที่จำเป็นในการดำเนินการตามโครงการขั้นดำเนินการกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (ตลอดการทำโครงการ)๑. การทำกิจกรรมนี้จะใช้เวทีช่วงกิจกรรมหน้าเสาธงของโรงเรียนทุกวันพุธ๒. การจัดรายการเสียงตามสายของโรงเรียนและชุมชน๓. เวทีการประชุมประจำเดือนของชุมชนร

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 11:33

 

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 10:21

โนราโรงครู เป็นการละเล่นพื้นเมืองที่สืบทอดกันมานานและนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายในภาคใต้ เป็นการละเล่นที่มีทั้งการร้อง การรำ และประกอบพิธีกรรรม เพื่อเชิญวิญญาณบรรพบุรุษที่เป็นโนรา ซึ่งเรียกว่า ตายายโนรา หรือ ตาหลวง หรือ ครูหมอ  ตายาย มายังโรงพิธีเพื่อรับการเซ่นสังเวย เพื่อรับของแก้บน และเพื่อครอบเทริด ตัดจุก ผูกผ้า แก่โนรารุ่นใหม่ ด้วยเหตุที่ต้องทำการเชื้อเชิญครูมาเข้าทรงหรือมา ลง ยังโรงพิธี จึงเรียกพิธีกรรมนี้ว่า โนราโรงครูโนราโรงครู จึงเป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความเชื่อที่มีบทบาทต่อวิถีชีวิตและสังคมของชาวภาคใต้โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโนราและผู้มีเชื้อสายโนรา โดยมีฐานความเชื่อว่าพ่อแม่ปู่ย่าตายายที่ตายไปแล้วนั้นแท้จริงยังไม่ได้ไปไหน ยังอยู่คอยปกปักรักษาชีวิตของลูกหลานให้อยู่รอดปลอดภัยดี มีความ

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 11:33

วิธีดำเนินการประชุมแกนนำจากอำเภอต่าง ๆ เพื่อชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ วางแผน แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการร่วมวางกรอบแนวคิดและวิธีการทำงานแก่คณะกรรมการดำเนินการเสนอแนะและร่วมค้นหาแหล่งความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประสานงานกับทุกฝ่ายเพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการติดตามประเมินผลและสรุปผลสำเร็จของโครงการประสานงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพจังหวัดสงขลาการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมจัดเข้าค่ายอบรมแกนนำเยาวชนรักษ์โนราโรงครูประสานงานกลุ่มเป้าหมายประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อวางแผนปฏิบัติการให้สำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของโครงการทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโนราโรงครูจากกลุ่มภูมิปัญญา โนราใหญ่ เพื่อจัดทำเอกสารให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้กำห

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 10:21

การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะที่สมบูรณ์นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวางและเท่าทัน เพราะความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพในโลกที่ซับซ้อนในปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นพลวัต มีความเปลี่ยนแปลงทั้งเชิงองค์ความรู้และการจัดการ ดังนั้นการเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง หรือความเคลื่อนไหวในกระแสการสร้างเสริม หรือทำลายสุขภาวะจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งกับการสร้างเสริมสุขภาพ และนับเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัวสร้างสุขภาพ ด้วยการเสริมศักยภาพ ( Empower ) ให้แก่ประชาชนในวงกว้าง เพื่อการเท่าทันในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนข้อมูลเป็นสำคัญ ชุมชนเป็นฐาน บูรณาการกับชีวิตจริง อิงเทคโนโลยี เป็นยุทธศาสตร์ในการทำงานกับชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในยุค

Submitted by Momo on 17 ธ.ค. 47 11:33

๑. สัมมนาแกนนำสมาชิกบินหลาเพื่อสุขภาพ เพื่อหาข่าวระดับอำเภอ เติมเต็มกรอบคิดด้านสุขภาพ และวางระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อการสื่อสาร๒. สัมมนาเครือข่ายภาคีสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพทุกภาคี เพื่อวางแนวการเชื่อมต่อภาคี และกำหนดทิศทาง กลวิธี ประเด็น การสื่อสารสาธารณะเพื่อสุขภาพ๓. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารเพื่อสื่อสาธารณะจังหวัดสงขลา เป็นองค์กรกลางในการรวบรวมข้อมูล ติดตามข้อมูลความเคลื่อนไหว และกระจายข้อมูล แก่ภาคีเครือข่าย รวมทั้งมีการประสานสื่อวิทยุท้องถิ่น หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เพื่อเปิดช่องทางการสื่อสารด้านสุขภาพของเครือข่ายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง๔. รวบรวมข้อมูลกิจกรรมสุขภาพของคนสงขลา และจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเผยแพร่ และกลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ โดยจัดเป็นกิจกรรมทัวร์เรียนรู้แล

1468 items|« First « Prev 143 144 (145/147) 146 147 Next » Last »|